27 เมษายน 2567, 16:09:16
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 661 662 [663] 664 665 ... 979   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: ☼☼☼ ร่วมคุยกันในมุมมองของคุณแม่~แวะพักทักทายเอ๋ 24 ☼☼☼  (อ่าน 2481338 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16550 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 15:38:40 »

การเรียนรู้ของเด็กก็จะไม่ต่อเนื่อง อาจหยุดชะงักเป็นช่วงๆหรือเรียนรู้ได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น เช่น

ถ้าเด็กไม่มีสมาธิฟังครูสอน เด็กก็อาจจะได้ยินครูพูดเพียงห้านาทีแรกเท่านั้น ส่วนเวลาที่เหลืออีก

เกือบชั่วโมง เด็กก็จะใจลอยวอกแวกไปตามสิ่งที่อยู่รอบตัว สรุปว่าในชั่วโมงนั้น...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16551 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 15:40:13 »

รร.ดาราเทวี เชียงใหม่
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16552 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 15:54:53 »

เด็กเก็บความรู้จากครูได้เพียงร้อยละ5 ในขณะที่เด็กคนอื่นเก็บได้เกือบถึงร้อยละ 80 เป็นต้น หาก-

เป็นการเล่นทั่วไป เช่น การต่อภาพจิ้กซอว์ ถ้าเด็กไม่มีสมาธิแล้วเขาจะบังคับตนเองให้นั่งต่อภาพ

นั้นไม่เสร็จ เมื่อต่อภาพได้เพียงห้านาทีเขาก็อาจลุกไปเล่นของเล่นอื่นแทน ...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16553 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 16:03:57 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16554 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 16:12:09 »

ผลที่ตามมาก็คือ เด็กไม่มีโอกาสรู้ว่าภาพที่ต่อจนเสร็จสมบูรณ์นั้นเป็นอย่างไร เด็กจะขาดทักษะความ

ชำนาญในการต่อภาพและขาดประสบการณ์แห่งความสำเร็จ  ไม่รู้ว่าตนเองก็ทำอะไรสำเร็จเป็นชิ้นเป็น

อันได้ การขาดประสบการณ์และทักษะดังกล่าว หากเกิดขึ้นซ้ำๆก็จะมีผลทำให้เด็กรู้สึกว่าตนเองไม่เก่ง

และขาดความเชื่อมั่นในตนเองได้...


ตอนลูกๆยังเล็กก้อส่งเสริมให้ต่อจิ้กซอว์นะคะ ปัจจุบันส่งเสริมลูกศิษย์น้อยๆแทน สังเกตได้เลยว่าเด็ก

คนไหนมีสมาธิรึว่ามีน้อย เห็นนิสัยว่ามีความพยายามรึไม่ด้วย...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16555 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 16:13:36 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16556 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 16:27:19 »

สมาธิคืออะไร

คำว่าสมาธิ ตามความหมายทางการแพทย์ก็คือ ความสามารถที่จะเพ่งความสนใจไปยังสิ่งกระตุ้นบาง

สิ่ง และเลือกเฟ้นว่าสิ่งกระตุ้นใดบ้างที่ควรให้ความสนใจ (คำว่าสิ่งกระตุ้น หมายถึง อะไรก็ตามที่มา -

กระตุ้นประสาทสัมผัส เช่น ภาพ เสียง กลิ่น ฯลฯ)...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16557 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 16:29:22 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16558 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 16:31:11 »

พบกันใหม่พรุ่งนี้ค่ะ.. ถึงเวลาพักผ่อนและไปออกกำลังกายยามเย็นที่ชมรมลีลาศจังหวัดแล้ว บ๊ายย...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16559 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2559, 16:32:55 »

สวนสัตว์ เชียงใหม่
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16560 เมื่อ: 10 กุมภาพันธ์ 2559, 15:06:08 »

สาระน่ารู้(ต่อ)

อวัยวะที่รับผิดชอบในการสร้างสมาธิคือ สมอง สมองส่วนที่มีบทบาทในการสร้างสมาธิคือ 1.ก้าน-

สมอง เป็นส่วนที่อยู่ลึกลงไปตรงกลางของสมอง ที่ส่วนนี้มีระบบที่เรียกว่า RAS  (RETICULAR

ACTIVATING  SYSTEM)ทำหน้าที่ควบคุมระดับการตื่นตัวของบุคคล ถ้าRASถูกทำลายไปก็จะเกิด

สภาวะไม่รู้สึกตัวที่เรียกว่าโคม่า(COMA)ในคนที่หลับRASจะทำงานลดลง ทำให้การตื่นตัวของบุค-

คลนั้นลดลงด้วย...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16561 เมื่อ: 10 กุมภาพันธ์ 2559, 15:09:09 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16562 เมื่อ: 10 กุมภาพันธ์ 2559, 15:20:15 »

2.สมองส่วนหน้า เป็นสมองที่อยู่ด้านหลังหน้าผาก ทำหน้าที่ควบคุมและเลือกเฟ้นว่าสิ่งกระตุ้นใดมี-

ความสำคัญที่เราจะต้องสนใจหรือมีสมาธิจดจ่อ 3. ธาลามัสและลิมบิก เป็นสมองที่ทำงานเกี่ยวกับ

อารมณ์ สมองส่วนนี้จะมีเส้นใยประสาทติดต่อกับสองส่วนแรก ดังนั้นอารมณ์ของบุคคลจึงมีอิทธิพล

ต่อสมาธิ คนที่มีอารมณ์เศร้ามักจะมีสมาธิไม่ดี ใจลอย ขี้ลืม ขาดความสนใจในสิ่งรอบข้าง ส่วนคนที่-

มีความวิตกกังวลก็จะตั้งสมาธิได้ไม่นานเช่นกัน...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16563 เมื่อ: 10 กุมภาพันธ์ 2559, 15:21:47 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16564 เมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2559, 11:51:47 »

สมองทั้งสามส่วนนี้ทำงานประสานกันและมีเส้นใยติดต่อเชื่อมโยงกับสมองส่วนอื่นๆด้วย เช่น เชื่อม-

โยงกับสมองส่วนที่รับภาพและเสียง เป็นต้น สิ่งกระตุ้นหรือข้อมูลต่างๆที่เข้ามาสู่ตัวเรา ไม่ว่าจะเป็น

แสง เสียง หรือความรู้สึกร้อนหนาวจะผ่านเข้ามาทางประสาทสัมผัสและเข้าไปสู่สมอง จากนั้นสมอง

จะวิเคราะห์ข้อมูล แปลข้อมูล และสั่งการซึ่งแสดงออกมาเป็นการกระทำต่างๆ
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16565 เมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2559, 11:52:52 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16566 เมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2559, 11:58:48 »

สมาธิสองแบบ สมาธิสามารถแบ่งออกเป็น2ประเภทใหญ่ๆคือ

1. สมาธิแบบต่อเนื่อง หมายถึง การคงความสนใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เป็นระยะเวลานานต่อเนื่อง เช่น

การมีสมาธิในการอ่านหนังสือจนจบบท เป็นต้น บุคคลที่มีความบกพร่องในสมาธิแบบนี้มีลักษณะไม่-

อดทนทำอะไรได้ไม่ค่อยนาน ทำงานแรกได้เพียงครู่เดียวแล้วก็ลุกไปทำสิ่งอื่น โดยที่งานแรกยังไม่

เสร็จ
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16567 เมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2559, 12:00:21 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16568 เมื่อ: 12 กุมภาพันธ์ 2559, 14:06:48 »

สวัสดีค่ะ ศรีสะเกษเช้านี้อากาศเริ่มอุ่นๆแล้ว ไม่หนาวมากเหมือนอาทิตย์ที่ผ่านมา..รักษาสุขภาพ

ด้วยนะคะ

สาระน่ารู้(ต่อ)

-2.สมาธิในการคัดเลือกสิ่งกระตุ้น หมายถึง ความสามารถในการตัดสิ่งกระตุ้นที่ไม่สำคัญออกไป

เพื่อที่จะให้ความสนใจต่อสิ่งกระตุ้นที่สำคัญหรือตรงประเด็นตัวอย่างเช่น ขณะที่เด็กนั่งฟังครูสอน-

ในชั้นเรียนจะมีสิ่งกระตุ้นหลายอย่างผ่านเข้ามาสู่ประสาทสัมผัส เช่นภาพครูเข้ามาทางประสาทตา

เสียงครู เสียงรถยนต์วิ่ง และเสียงเพื่อนคุยกันเข้ามาทางประสาทหู เป็นต้น ...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16569 เมื่อ: 12 กุมภาพันธ์ 2559, 14:09:01 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16570 เมื่อ: 12 กุมภาพันธ์ 2559, 14:37:43 »

เด็กต้องเลือกว่าตนจะสนใจสิ่งกระตุ้นใด ถ้าเด็กมีสมาธิแบบนี้ดี เด็กจะสามารถจดจ่อในสิ่งที่ครูพูด-

และตัดเสียงรถยนต์วิ่ง และเสียงเพื่อนออกไปจากความสนใจได้ ในคนที่สมาธิแบบนี้บกพร่องจะมี

อาการใจลอย วอกแว่กง่าย  นอกจากนี้มักจะทำงานที่อยู่ตรงหน้าไม่เสร็จ  เพราะจะไปสนใจสิ่งอื่น

เปลี่ยนไปเรื่อยๆ คล้ายกับคนที่มีปัญหาในสมาธิแบบแรกได้...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16571 เมื่อ: 12 กุมภาพันธ์ 2559, 14:45:18 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16572 เมื่อ: 12 กุมภาพันธ์ 2559, 14:56:22 »

ในชีวิตประจำวันสมาธิทั้งสองอย่างนี้จะทำงานพร้อมกันตลอดเวลา ทำให้เราสามารถเลือกสิ่งกระตุ้น

ที่สำคัญ และให้ความสนใจต่อสิ่งนั้นได้นานพอ เช่น เลือกให้ความสนใจกับงานที่อยู่ตรงหน้า(มีสมา-

ธิในการคัดเลือกสิ่งกระตุ้น) และทำงานต่อเนื่องไปจนเสร็จ แม้จะเป็นเวลาหลายชั่วโมงก็ตาม(มีสมา-

ธิแบบต่อเนื่อง) การมีความบกพร่องในสมาธิอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง จะทำให้เราไม่สา -

มารถตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นได้อย่างเหมาะสม และไม่สามารถทำงานเสร็จเป็นชิ้นเป็นอันได้ ...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16573 เมื่อ: 12 กุมภาพันธ์ 2559, 14:57:34 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16574 เมื่อ: 12 กุมภาพันธ์ 2559, 15:19:01 »

ทำไมลูกจึงไม่มีสมาธิ? สาเหตุที่พบบ่อยและควรนึกถึงเป็นอันดับแรกได้แก่ -สภาพร่างกายที่ไม่สบาย

เพียงพอ เช่น กำลังเป็นไข้หรืออ่อนเพลียเนื่องจากเป็นโรคเรื้อรัง ขาดสารอาหาร หิวน้ำ รู้สึกร้อนหรือ

หนาวเกินไป -ภาวะที่มีสิ่งกระตุ้นมากเกินไป เช่น สถานที่ที่วุ่นวาย มีเสียงดังหรือผู้คนจอแจ จะทำให้-

เราไม่มีสมาธิได้ เพราะแม้จะพยายามจดจ่ออยู่กับสิ่งเดียว แต่สิ่งกระตุ้นอื่นๆก็มากเกินไปจนทำให้วอก

แวก นอกจากนี้สิ่งกระตุ้นที่มากเกินไปอาจทำให้เกิดภาวะสมองล้าและตั้งสมาธิไม่ได้นาน...
      บันทึกการเข้า
  หน้า: 1 ... 661 662 [663] 664 665 ... 979   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

สมาคมนิสิตเก่าหอพักนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มวลสมาชิกสมาคม คณาจารย์ และนิสิตเก่าทุกคน ขอน้อมเกล้าถวายความอาลัย  พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ <;))))><