churaipatara
|
 |
« ตอบ #16175 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 13:08:07 » |
|
..ก่อนคลอดและวันลาหลังคลอดแยกออกจากกันให้ชัดเจน เพื่อป้องกันไม่ให้มีการใช้สิทธิลาเมื่อ -
ใกล้คลอด เนื่องจากการลาก่อนคลอดเป็นเรื่องจำเป็นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการลาหลังคลอด และก่อ
ให้เกิดผลดีแก่เด็ก เพราะเมื่อมารดาได้รับการพักผ่อนในระหวางตั้งครรภ์ ทารกที่อยู่ในครรภ์ย่อมได้...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16176 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 13:11:40 » |
|
 ดูหนังเรื่องเด็กดาวน์ ที่เอ็มวีพี บิ้กซีศรีสะเกษ เวลาเก้าโมงเช้า กับเด็กพิเศษประเภทต่างๆ ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดศรีสะเกษ เด็กๆและพ่อแม่ผู้ปกครองมีความสุขสนุกสนานมาก
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16177 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 13:16:07 » |
|
..รับการพักผ่อนไปด้วย แต่หากมารดาไม่ได้รับการพักผ่อนหรือมีความเครียดจากการทำงาน ย่อม -
ส่งผลให้ทารกที่อยู่ในครรภ์เกิดความเครียดเช่นกัน และอาจทำให้มีการคลอดก่อนกำหนด เด็กที่
ออกมาอาจจะไม่สมบูรณ์หรือแข็งแรงพอ แพทย์อาจนำเข้าไปอยู่ในตู้อบ...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16178 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 13:24:22 » |
|
 นำอาหาร ขนม และของเล่น ไปมอบให้เด็กๆที่ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดศรีสะเกษ
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16179 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 13:29:47 » |
|
๓.การให้ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ทำงานที่เสี่ยงอันตรายต่อทารก
เนื่องจากสภาพร่างกายของลูกจ้างหญิงแต่ละคนอาจแตกต่างกันเมื่อตั้งครรภ์ ลักษณะการทำงาน
จะส่งผลต่อทารกที่อยู่ในครรภ์ด้วย โดยเฉพาะงานที่ต้องยกของหนัก เมื่อพิจารณาตามมาตรา๓๙...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16180 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 13:33:59 » |
|
 ทอรุ้ง นิสิตเก่าครุศาสตร์ อาสามาช่วยงานโครงการฯ
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16181 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:04:54 » |
|
..แห่งพรบ.คุ้มครองแรงงานแล้ว กำหนดให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ทำงานประเภท ยก
แบก หาม หาบ ขน ลาก หรือเข็นของหนักได้ไม่เกิน๑๕กิโลกรัม เห็นว่า หลักการดังกล่าววางหลักไว้
ไม่เหมาะสม หากลูกจ้างหญิงมีครรภ์มีสุขภาพไม่แข็งแรงแล้ว ทำงานยกของหนักที่มีน้ำหนักดังกล่าว...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16182 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:09:13 » |
|
 พักผ่อนกับลูกมีความสุข
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16183 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:12:48 » |
|
..จะมีผลกระทบกระเทือนต่อทารกที่อยู่ในครรภ์ แต่ตามอนุสัญญาฉบับที่ ๑๒๗ ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด
ที่อนุญาติให้คนงานคนหนึ่งแบกหาม คศ.๑๙๖๗ ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศกำหนดว่าการ
ใช้แรงงานจะต้องคำนึงถึงสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของคนงาน และข้อแนะขององค์การ ...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16184 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:18:09 » |
|
 อร่อยกับลูกๆเพื่อนๆลูก
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16185 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:22:36 » |
|
..แรงงานระหว่างประเทศ คือข้อแนะฉบับที่๑๒๘ ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุดที่อนุญาตให้คนงานคนหนึ่ง
แบกหามได้ คศ.๑๙๖๗ ที่สนับสนุนแนวทางของอนุสัญญาฉบับที่ ๑๒๗ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการ
ทำงานของลูกจ้างหญิงมีครรภ์ว่า ควรห้ามหญิงมีครรภ์ทำงานแบกหาม และตามพรบ.มาตรฐาน....
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16186 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:25:59 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16187 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:29:39 » |
|
..แรงงานของญี่ปุ่นวางหลักไว้ว่า ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างหญิงมีครรภ์หรือลูกจ้างหญิงที่คลอดบุตร
แล้วภายใน๑ปี ทำการยกวัสดุอุปกรณ์หนักๆ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๖๔-๓ จะเห็นได้ว่า กฏหมาย -
แรงงานของญี่ปุ่นบัญญัติไว้ได้สอดคล้องกับอนุสัญญาและข้อแนะขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16188 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:31:14 » |
|
 พ่อและแม่ นพ.รัตน์-นางประไพ ปาลิวนิช
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16189 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:35:49 » |
|
...เพื่อป้องกันมิให้ทารกที่อยู่ในครรภ์อยู่ในภาวะที่เสี่ยงอันตรายและลดอัตราการแท้งลูก
๔.การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด
ปี๒๕๕๗ สภาพเศรษฐกิจอยู่ในภาวะตกต่ำน้ำมันราคาสูง จังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรม...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16190 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:36:52 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16191 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:42:58 » |
|
..มีลูกจ้างจำนวนมากต้องใช้ชีวิตแบบคนเมือง ค่าครองชีพสูงจึงต้องทำงานล่วงเวลา ตัวอย่างเช่น
นาย ก. เป็นลูกจ้างของโรงงานแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี มีรายได้วันละ ๓๐๐ บาท รวมแล้วมี -
รายได้ประมาณเดือนละ ๙๐๐๐ บาท เสียค่าใช้จ่ายเป็นค่าเช่าบ้านเดือนละ ๒๐๐๐ บาทและอื่น ๆ...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16192 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:45:45 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16193 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:57:16 » |
|
...เดือนละ๔๕๐๐บาท คงเหลือเงินเดือนละ ๒๕๐๐ บาท ถ้านาย ก. มีครอบครัว มีบุตรและภริยาเป็น
ลูกจ้างของโรงงานเช่นกัน มีรายได้และค่าใช้จ่ายเท่ากัน คงเหลือเงินแต่ละเดือนรวมกันประมาณ
๕๐๐๐ บาท เงินที่เหลือนี้ต้องนำไปจ่ายในการดูแลบุตรซึ่งยังเล็ก เงินที่ต้องจ่ายเป็นค่าพี่เลี้ยงเด็ก ...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16194 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 14:59:17 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16195 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 15:04:04 » |
|
...ก็เกือบหมดแล้ว หากไม่ทำงานล่วงเวลา จะไม่มีเงินค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูบุตรของตน ตามพรบ.
คุ้มครองแรงงาน พศ.๒๕๔๑ กำหนดหลักการทำงานล่วงเวลาไว้ในมาตรา๔วรรคหนึ่งว่า ห้ามมิให้ -
นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนเป็น
คราวๆไป...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16196 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 15:05:19 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16197 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 15:14:43 » |
|
...เห็นว่า หลักการดังกล่าวนี้แทบจะไม่มีผลบังคับ ในกรณีที่ต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างเพราะ
จำยอมด้วยเหตุผลและความจำเป็นทางเศรษฐกิจ การทำงานล่วงเวลาหมายความว่า การทำงานนอก
หรือเกินเวลาทำงานปกติหรือเกินชั่วโมงทำงานในแต่ละวันที่นายจ้างลูกจ้างตกลงกันในวันทำงานหรือ...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16198 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 15:15:33 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16199 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2558, 15:19:03 » |
|
...หรือวันหยุดแล้วแต่กรณี การที่ลูกจ้างต้องมีภาระต้องเลี้ยงดูบุตรซึ่งยังเล็ก ต้องทำงานล่วงเวลา
มีผลทำให้สายใยแห่งความผูกพันระหว่างบิดามารดาและบุตรขาดสิ้นไป นอกจากนี้บทบัญญัติใน
วรรคสองของมาตรา๒๔ ที่กำหนดว่า นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาได้เท่าที่จำเป็น ...
|
|
|
|
|