|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16326 เมื่อ: 20 มกราคม 2559, 15:08:37 » |
|
...เด็กที่ดื่มนมสัตว์จะไอคิวต่ำกว่าเด็กที่ดื่มนมมารดา แล้วประเทศไทยจะพัฒนาไปได้อย่างไร หลาย
ประเทศทั่วโลกต่างให้ความสำคัญกับนมมารดา ต่อมามีการจัดทำประมวลกฏนานาชาติว่าด้วย การ -
ตลาดอาหารเสริมและอาหารทดแทนนมมารดา คศ.๑๙๘๑ ซึ่งได้รับความเห็นชอบโดยสมาชิกของ ...
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16328 เมื่อ: 20 มกราคม 2559, 15:15:10 » |
|
...สมัชชาสุขภาพโลก รวม๑๑๘ประเทศ รวมถึงประเทศไทยด้วยที่ลงมติเห็นชอบในปี๒๕๕๕ มี๑๖๓
ประเทศบังคับใช้ประมวลกฏนานาชาติดังกล่าว แต่ประเทศไทยมีเพียงกฏกระทรวงและมาตรการที่ไม่
อาจมีประสิทธิภาพเพียงพอ เพราะยังไม่ได้จัดทำเป็นกฏหมายให้มีประสิทธิภาพ...
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16330 เมื่อ: 20 มกราคม 2559, 15:19:08 » |
|
...ประมวลกฏนานาชาติว่าด้วยการตลาดอาหารเสริมและอาหารทดแทนนมมารดา คศ.๑๙๘๑ มี
หลักการสำคัญดังนี้ (๑) สินค้าจะต้องไม่มีการโฆษณาหรือส่งเสริมการขายอย่างใดๆต่อสาธารณะ
(๒) มารดาและหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวของหญิงจะต้องไม่ได้รับตัวอย่างของสินค้า...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16331 เมื่อ: 20 มกราคม 2559, 15:21:04 » |
|
 พี่วุฒิ-นิติฯ
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16332 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 14:18:12 » |
|
สวัสดีค่ะ
สาระฯ(ต่อ)
...(๓) ผู้ให้บริการดูแลสุขภาพจะต้องไม่ได้รับสินค้าโดยไม่เสียค่าตอบแทน หรือสินค้าที่ได้รับการ
อุดหนุนและต้องไม่ส่งเสริมการขายสินค้า
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16334 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 14:27:12 » |
|
...(๔) บุคคลที่รับผิดชอบต่อการตลาดของสินค้า จะต้องไม่พยายามติดต่อมารดาหรือหญิงตั้งครรภ์
หรือครอบครัวของหญิง (๕) ฉลากบนสินค้าจะต้องไม่ใช้คำพูดหรือภาพ รวมทั้งภาพของทารกที่ทำ
ให้เกิดภาพในอุดมคติเกี่ยวกับการใช้สินค้า (๖) ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจะต้องไม่ได้รับของขวัญ
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16335 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 14:29:12 » |
|
 ร้านโปรดแม่ลูก
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16336 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 14:42:40 » |
|
...(๗) ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจะต้องไม่ได้รับตัวอย่างของสินค้า เว้นแต่เป็นไปเพื่อการประเมินหรือ
การวิจัยตามวิชาชีพในระดับสถาบัน (๘) ข่าวสารสำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ จะต้องบรรจุแต่ข้อ
มูลด้านวิทยาศาสตร์หรือข้อเท็จจริง และจะต้องไม่ให้เกิดความหมายหรือเกิดความเชื่อว่าการเลี้ยง -
ด้วยนมขวดเทียบเท่าหรือดีกว่าการเลี้ยงด้วยนมมารดา...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16337 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 14:45:29 » |
|
 พ่อแม่กับร้านโปรด
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16338 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 14:54:39 » |
|
...จากการศึกษาพบว่าประเทศนิวซีแลนด์ นอร์เวย์ และฟิลิปปินส์ นำหลักการของประมวลกฏนานา-
ชาติฯดังกล่าวไปบัญญัติไว้เป็นกฏหมาย ลักษณะของกฏหมายต่างประเทศดังกล่าวจะบัญญัติไว้ได้
สอดคล้องกับประมวลกฏนานาชาติฯ โดยเฉพาะหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการโฆษณานมผงหรือนมผสม...
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16340 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 15:03:35 » |
|
...สำหรับเลี้ยงทารกแทบจะต้องห้ามโฆษณาโดยเด็ดขาด และการส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของ
นมมารดา ซึ่งผู้ศึกษาไม่อาจนำมากล่าวโดยละเอียดได้หมด ส่วนกฏหมายไทยเท่าที่ค้นพบคงมี -
เพียงกฏกระทรวงที่ออกมาควบคุมการโฆษณาทางด้านฉลาก และมีการส่งเสริมการให้นมมารดา...
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16342 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 15:13:26 » |
|
...ยังไม่มีการตราเป็นพรบ. ซึ่งตามพรบ.อาหารพศ.๒๕๒๒ ก็ไม่มีหลักเกณฑ์การห้ามโฆษณานม
กฏกระทรวงสามารถยกเลิกเปลี่ยนแปลงได้ง่าย เพราะขึ้นอยู่กับอำนาจของรัฐมนตรีและคณะกรรม
การที่เกี่ยวข้อง กฏหมายที่ใช้ในการปกป้องคุ้มครองนมมารดาของไทยจึงขาดความแน่นอน ...
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16344 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 15:22:05 » |
|
...หากกลุ่มทุนสามารถเข้าครอบงำชักนำผู้มีอำนาจในการตรากฏหมายได้ จะมีผลทำให้กฏหมายที่
เกี่ยวข้องกับระบบการค้าการลงทุนล้ำเส้นกฏหมายที่ใช้ในการปกป้องคุ้มครองสังคม ทุกวันนี้ก็ล้ำ -
เส้นกันมากพอแล้ว อย่าให้สังคมไทยอยู่ในสภาพที่แย่ไปกว่านี้...
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16345 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 15:26:02 » |
|
 ทานกับลูกๆอะไรๆก้ออร่อย
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16346 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 15:34:23 » |
|
...นอกจากที่กล่าวมาแล้วใน๖ประเด็นดังกล่าว ยังมีปัญหาที่ผู้ศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าไว้อีกเช่น
ปัญหาการจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก และพี่เลี้ยงเด็ก ซึ่งเป็นปัญหาโดยรวมทั้งหมด ในการคุ้มครอง -
ดูแลบุตรของลูกจ้าง แต่ไม่อาจนำมากล่าวได้ทั้งหมดเพราะเนื้อหามีมาก จึงขอให้ผู้สนใจศึกษาได้
จากวิทยานิพนธ์เรื่องนี้หรืออาจจะได้นำมากล่าวในนิตยสารนี้ในโอกาสต่อไป
|
|
|
|
|
churaipatara
|
 |
« ตอบ #16348 เมื่อ: 21 มกราคม 2559, 15:42:25 » |
|
หลักการที่ดีใน๖ประเด็นที่เป็นปัญหาพอสรุปได้ดังนี้
การให้ลูกจ้างหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาในขณะตั้งครรภ์หรือหยุดงาน จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีเนื่อง
จากมารดาได้รับการพักผ่อน มีเวลาพัฒนาทารกที่อยู่ในครรภ์ และให้ความสำคัญในการดูแลบุตร -
ของตนในระหว่างตั้งครรภ์...
|
|
|
|
|
|